Album: ข้อมูลจาก กระทู้ ท่านhttp://board.palungjit.com/members/amuletism-401691

การตรวจสอบพระพุทธรูปบูชาเนื้อสัมฤทธิ์เก่าหรือใหม่ 2<br /> <br /> วัสดุที่โบราณาจารย์ นิยมเอามาสร้างเป็น พระพุทธรูปบูชาอย่างแพร่หลายได้แก่โลหะ ทองคำ นาค เงิน ทองเหลือง ทองแดง ตะกั่ว สังกะสี ลงหิน เมื่อผสมกัน แล้วเรียกว่าสัฤทธิ์นี้ เฉพาะแร่ทองคำ เงินและทองแดง เป็นธาตุแท้ นอกนั้นเป็นโลหะผสม เนื้อทองคำเหลืองอร่ามสวยงามมีราคาสูงไม่กลายสภาพเป็นอย่างอื่น เมื่อผสมกับแร่ธาตุอื่นจะทำให้แร่ธาตุอื่น จะทำให้ แร่ธาตุนั้นผิวกลับดำ ถ้าธาตุนั้นเก่าก็จะทำให้มองเห็นความเก่าได้ชัดเจนยิ่งขึ้น เนื้อทองแดงเมื่อผสมกับแร่ธาตุอื่น จะทำให้แร่ธาตุนั้นเปลี่ยนไป เช่นทองแดงผสมสังกะสีจะกลายเป็นทองเหลืองเนื้อสัมฤทธิ์ตามความหมายของนักเล่นพระ หมายถึงโลหะผสมผิวกลับดำหมองคล้ำย่อมมีผิวเนื้อแตกต่างกัน ทั้งนี้แล้วแต่ส่วนผสม เช่นถ้าส่วนผสมแก่เงินผิวโลหะนั้นจะกลับดำ ถ้าโลหะนั้นมีทองคำผสมด้วยแม้จะไม่มากนักก็ทำให้โลหะนั้น มีความมันในสวยงามขึ้น โลหะที่ผสมเป็นเนื้อสัมฤทธิ์สร้างพระบูชา นิยมเรียกชื่อต่างกันตามผสม เช่น ปัญจโลหะ, และนวโลหะ<br /> <br /> ปัญจโลหะ ได้แก่ส่วนผสมโหละ ๕ อย่างดังต่อไปนี้คือ<br /> ๑. ดีบุก หนัก ๑ บาท<br /> ๒. ปรอท หนัก ๒ บาท<br /> ๓. ทองแดง หนัก ๓ บาท<br /> ๔. เงินหนัก ๕ บาท<br /> ๕. ทองคำ หนัก ๕ บาท<br /> <br /> สัตตะโลหะได้แก่ส่วนผสมโลหะ ๗ อย่างดังต่อไปนี้<br /> ๑. ดีบุก หนัก ๑ บาท<br /> ๒. สังกะสี หนัก ๒ บาท <br /> ๓. เหล็กละลายตัว หนัก ๓ บาท<br /> ๔. ปรอท หนัก ๔ บาท<br /> ๕. ทองแดง หนัก ๕ บาท <br /> ๖. เงิน หนัก ๖ บาท<br /> ๗. ทองคำ หนัก ๗ บาท<br /> <br /> นวะโลหะได้แก่ผสมโลหะ ๙ อย่างดังต่อไปนี้<br /> ๑. ชิน หนัก ๑ บาท<br /> ๒. เจ้าน้ำเงิน หนัก ๒ บาท<br /> ๓. เหล็กละลายตัว หนัก ๓ บาท<br /> ๔. บริสุทธิ์ หนัก ๔ บาท<br /> ๕. ปรอท หนัก ๕ บาท<br /> ๖. สังกะสี หนัก ๖ บาท<br /> ๗. ทองแดง หนัก ๗ บาท<br /> ๘. เงิน หนัก ๘ บาท<br /> ๙. ทองคำ หนัก ๙ บาท<br /> <br /> พระพุทธรูปเนื้อสัมฤทธิ์ ที่เห็นปรากฏเป็นส่วนมาก็มี เนื้อสัมฤทธิ์ดำ เนื้อสัมฤทธิ์เขียว เนื้อสัมฤทธิ์แดง เนื้อสัมฤทธิ์ดังกล่าวนี้ ถ้ามีส่วนผสมของทองคำจะทำให้สัมฤทธิ์นั้นมันใสสวยงามยิ่งขึ้น<br /> สัมฤทธิ์ดำ มีส่วนผสมของแร่เงินมาก<br /> สัมฤทธิ์เขียว มีส่วนผสมของทองเหลืองมาก<br /> สัมฤทธิ์ แดงน้ำตาลไหม้ มีส่วนผสมของแร่ทองแดงมาก<br /> <br /> เนื้อพระผิวสนิมสีของพระเก่ามีสีอ่อนแก่ แตกต่างกัน และสนิมของพระก็แตกต่างกัน ทั้งนี้ก็เพราะว่าพระเก่าบางองค์ฝังอยู่ในดินฝันอยู่ในถ้ำ บางองค์เก็บรักษาไว้ในถ้ำ ในปราสาท ในโบสถ์ วิหา

ข้อมูลจาก กระทู้ ท่านhttp://board.palungjit.com/members/amuletism-401691

อัปเดต 17 ธันวาคม 2012
There is no photo in this album yet.
psom
การตรวจสอบพระพุทธรูปบูชาเนื้อสัมฤทธิ์เก่าหรือใหม่ 2

วัสดุที่โบราณาจารย์ นิยมเอามาสร้างเป็น พระพุทธรูปบูชาอย่างแพร่หลายได้แก่โลหะ ทองคำ นาค เงิน ทองเหลือง ทองแดง ตะกั่ว สังกะสี ลงหิน เมื่อผสมกัน แล้วเรียกว่าสัฤทธิ์นี้ เฉพาะแร่ทองคำ เงินและทองแดง เป็นธาตุแท้ นอกนั้นเป็นโลหะผสม เนื้อทองคำเหลืองอร่ามสวยงามมีราคาสูงไม่กลายสภาพเป็นอย่างอื่น เมื่อผสมกับแร่ธาตุอื่นจะทำให้แร่ธาตุอื่น จะทำให้ แร่ธาตุนั้นผิวกลับดำ ถ้าธาตุนั้นเก่าก็จะทำให้มองเห็นความเก่าได้ชัดเจนยิ่งขึ้น เนื้อทองแดงเมื่อผสมกับแร่ธาตุอื่น จะทำให้แร่ธาตุนั้นเปลี่ยนไป เช่นทองแดงผสมสังกะสีจะกลายเป็นทองเหลืองเนื้อสัมฤทธิ์ตามความหมายของนักเล่นพระ หมายถึงโลหะผสมผิวกลับดำหมองคล้ำย่อมมีผิวเนื้อแตกต่างกัน ทั้งนี้แล้วแต่ส่วนผสม เช่นถ้าส่วนผสมแก่เงินผิวโลหะนั้นจะกลับดำ ถ้าโลหะนั้นมีทองคำผสมด้วยแม้จะไม่มากนักก็ทำให้โลหะนั้น มีความมันในสวยงามขึ้น โลหะที่ผสมเป็นเนื้อสัมฤทธิ์สร้างพระบูชา นิยมเรียกชื่อต่างกันตามผสม เช่น ปัญจโลหะ, และนวโลหะ

ปัญจโลหะ ได้แก่ส่วนผสมโหละ ๕ อย่างดังต่อไปนี้คือ
๑. ดีบุก หนัก ๑ บาท
๒. ปรอท หนัก ๒ บาท
๓. ทองแดง หนัก ๓ บาท
๔. เงินหนัก ๕ บาท
๕. ทองคำ หนัก ๕ บาท

สัตตะโลหะได้แก่ส่วนผสมโลหะ ๗ อย่างดังต่อไปนี้
๑. ดีบุก หนัก ๑ บาท
๒. สังกะสี หนัก ๒ บาท
๓. เหล็กละลายตัว หนัก ๓ บาท
๔. ปรอท หนัก ๔ บาท
๕. ทองแดง หนัก ๕ บาท
๖. เงิน หนัก ๖ บาท
๗. ทองคำ หนัก ๗ บาท

นวะโลหะได้แก่ผสมโลหะ ๙ อย่างดังต่อไปนี้
๑. ชิน หนัก ๑ บาท
๒. เจ้าน้ำเงิน หนัก ๒ บาท
๓. เหล็กละลายตัว หนัก ๓ บาท
๔. บริสุทธิ์ หนัก ๔ บาท
๕. ปรอท หนัก ๕ บาท
๖. สังกะสี หนัก ๖ บาท
๗. ทองแดง หนัก ๗ บาท
๘. เงิน หนัก ๘ บาท
๙. ทองคำ หนัก ๙ บาท

พระพุทธรูปเนื้อสัมฤทธิ์ ที่เห็นปรากฏเป็นส่วนมาก็มี เนื้อสัมฤทธิ์ดำ เนื้อสัมฤทธิ์เขียว เนื้อสัมฤทธิ์แดง เนื้อสัมฤทธิ์ดังกล่าวนี้ ถ้ามีส่วนผสมของทองคำจะทำให้สัมฤทธิ์นั้นมันใสสวยงามยิ่งขึ้น
สัมฤทธิ์ดำ มีส่วนผสมของแร่เงินมาก
สัมฤทธิ์เขียว มีส่วนผสมของทองเหลืองมาก
สัมฤทธิ์ แดงน้ำตาลไหม้ มีส่วนผสมของแร่ทองแดงมาก

เนื้อพระผิวสนิมสีของพระเก่ามีสีอ่อนแก่ แตกต่างกัน และสนิมของพระก็แตกต่างกัน ทั้งนี้ก็เพราะว่าพระเก่าบางองค์ฝังอยู่ในดินฝันอยู่ในถ้ำ บางองค์เก็บรักษาไว้ในถ้ำ ในปราสาท ในโบสถ์ วิหา

จัดการ

แชร์หน้านี้

Loading...